บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 7 เวลาเรียน 08.30-12.20 กลุ่ม 101 ห้อง 233
เวลาเข้าสอน 08.30 เวลาเข้าเรียน 08.30 เวลาเลิกเรียน 12.20
เรียนเรื่อง : การประเมินภาษาเด็ก
ความรู้ที่ได้ในวันนี้คือ...
กิจกรรมก่อนเรียน
อาจารย์ได้ให้วาดรูป 1 รูป อะไรก็ได้ที่เราอยากวาด และให้ออกไปเล่าเป็นนิทานต่อจากเพื่อนที่เล่าก่อนหน้านี้ ฉันวาดเป็นรูปทะเล ซึ่งฉันเล่าประมาณว่า มีบ้านพักตากอากาศของเจ้าหมาของเพื่อนอยู่ตรงชายทะเล ต่อจากนั้นเพื่อนอีกคนหนึ่งต้องมาเล่าต่อจากฉันให้ได้ เพื่อทำให้เป็นนิทาน 1 เรื่องโดยสมบูรณ์ พอคนสุดท้ายของห้องเล่าจบแล้ว อาจารย์ได้ให้เล่าใหม่ตั้งแต่ต้นจนจบ แต่มันอาจจจะไม่ค่อยเหมือนเดิมเท่าไหร่ ค่ะ
กิจกรรมก่อนเรียน
อาจารย์ได้ให้วาดรูป 1 รูป อะไรก็ได้ที่เราอยากวาด และให้ออกไปเล่าเป็นนิทานต่อจากเพื่อนที่เล่าก่อนหน้านี้ ฉันวาดเป็นรูปทะเล ซึ่งฉันเล่าประมาณว่า มีบ้านพักตากอากาศของเจ้าหมาของเพื่อนอยู่ตรงชายทะเล ต่อจากนั้นเพื่อนอีกคนหนึ่งต้องมาเล่าต่อจากฉันให้ได้ เพื่อทำให้เป็นนิทาน 1 เรื่องโดยสมบูรณ์ พอคนสุดท้ายของห้องเล่าจบแล้ว อาจารย์ได้ให้เล่าใหม่ตั้งแต่ต้นจนจบ แต่มันอาจจจะไม่ค่อยเหมือนเดิมเท่าไหร่ ค่ะ
รูปทะเลที่ฉันวาด
เรียนเรื่อง : การประเมินภาษาเด็ก
1. ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลายใช้การสังเกตุและจดบันทึกเป็นสิ่งที่ดีที่สุด อย่างเช่น
- การสนทนา การสังเกตุ หรือการจดบันทึก
- การเขียน คือ การดูที่ลายเส้นที่เด็กเขียน
- วาดภาพของเด็ก คือ ดูรายละเอียดของภาพว่ามีรายละเอียดมากน้อยเพียงใด
2. เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก
- บันทึกในสิ่งที่เด็กทำ แต่ในสิ่งที่เด็กทำไม่ได้ครูควรส่งเสริมเด็ก
- ทำให้สามารถส่งเสริมเด็กให้ก้าวไปสู่พัฒนาการทางภาษาในระดับที่สูงขึ้น
3. ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
- การที่จะดูว่าเด็กมีทักษะด้านการพูดดีไหม จะต้องดูหลายๆอย่าง ไม่ใช่ดูแค่อย่างเดียว
4. ให้เด็กได้มีโอกาสประเมินตนเอง
- เวลาให้เด็กทำผลงาน ควรจะติดผลงานเด็กไว้ภายในห้อง เพื่อที่จะให้เด็กได้ดูพัฒนาการของตนเอง
5. ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน
- ครูที่ดีต้องใส่ใจในรายละเอียดของผลงานเด็กระหว่างที่เด็กทำ และต้องใส่ใจในกระบวนการคิดของเด็กด้วย
ตัวอย่างเช่น
ตอนแรกฉันทำไม่ได้ แต่พออาจารย์เฉลย ดังรูปขวามือ ก็ถึงกับ งง เลยเพราะมันออกนอกกรอบแต่อาจารย์บอกว่าเราเป็นครูไม่จำเป็นต้องคิดอยู่ในกรอบอย่างเดียว ควรจะคิดนอกกรอบบ้าง
ตัวอย่าง : กิจกรรมส่งเสริมลักษณะทางภาษา
1. การเขียนตามคำบอกของเด็ก
2. ช่วยเด็กเขียนบันทึก
3. อ่านหนังสือนิทานร่วมกัน
4. เขียนประกาศเพื่อแจ้งข่าวเตือนความจำ
5. อ่านคำคล้องจ้อง
6. ร้องเพลง
7. เล่าสู่กันฟัง
8. เขียนส่งสารถึงกัน
กิจกรรมหลังเรียน : เป็นกิจกรรมสุดท้ายของวันนี้ อาจารย์ได้เล่านิทานให้ฟัง อาจารย์จะเล่าให้ฟัง 2 รอบ โดยเล่ารอบที่ 1 ให้นักศึกษานั่งฟังเฉยๆ ไม่ต้องทำอะไร ส่วนรอบที่ 2 พออาจารย์เล่าให้นักศึกษาวาดภาพไปด้วยตามอาจารย์
เรื่องที่ 1 คือ สุนัขจิ้งจอก
- การสนทนา การสังเกตุ หรือการจดบันทึก
- การเขียน คือ การดูที่ลายเส้นที่เด็กเขียน
- วาดภาพของเด็ก คือ ดูรายละเอียดของภาพว่ามีรายละเอียดมากน้อยเพียงใด
2. เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก
- บันทึกในสิ่งที่เด็กทำ แต่ในสิ่งที่เด็กทำไม่ได้ครูควรส่งเสริมเด็ก
- ทำให้สามารถส่งเสริมเด็กให้ก้าวไปสู่พัฒนาการทางภาษาในระดับที่สูงขึ้น
3. ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
- การที่จะดูว่าเด็กมีทักษะด้านการพูดดีไหม จะต้องดูหลายๆอย่าง ไม่ใช่ดูแค่อย่างเดียว
4. ให้เด็กได้มีโอกาสประเมินตนเอง
- เวลาให้เด็กทำผลงาน ควรจะติดผลงานเด็กไว้ภายในห้อง เพื่อที่จะให้เด็กได้ดูพัฒนาการของตนเอง
5. ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน
- ครูที่ดีต้องใส่ใจในรายละเอียดของผลงานเด็กระหว่างที่เด็กทำ และต้องใส่ใจในกระบวนการคิดของเด็กด้วย
ตัวอย่างเช่น
รูปนี่เป็นรูปที่เด็กคนหนึ่งวาด เป็นรูปไอติมที่ละลายแล้ว
6. ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล
- ขั้นตอนนี้สำคัญเป็นอย่างมาก เพราะเด็กแต่ละคนมีพัฒนาการที่แตกต่างกัน
กิจกรรมฝึกทักษะ
อาจารย์มีเกมส์ต่อจุดให้เล่น เป็นเกมส์ที่ฝึกทักษะในด้านการคิด คือ มีจุดอยู่ 9 จุด โดยให้ลากเส้นผ่านจุดทุกจุดห้ามยกมือขึ้น ดังตัวอย่าง
ตัวอย่าง : กิจกรรมส่งเสริมลักษณะทางภาษา
1. การเขียนตามคำบอกของเด็ก
2. ช่วยเด็กเขียนบันทึก
3. อ่านหนังสือนิทานร่วมกัน
4. เขียนประกาศเพื่อแจ้งข่าวเตือนความจำ
5. อ่านคำคล้องจ้อง
6. ร้องเพลง
7. เล่าสู่กันฟัง
8. เขียนส่งสารถึงกัน
กิจกรรมหลังเรียน : เป็นกิจกรรมสุดท้ายของวันนี้ อาจารย์ได้เล่านิทานให้ฟัง อาจารย์จะเล่าให้ฟัง 2 รอบ โดยเล่ารอบที่ 1 ให้นักศึกษานั่งฟังเฉยๆ ไม่ต้องทำอะไร ส่วนรอบที่ 2 พออาจารย์เล่าให้นักศึกษาวาดภาพไปด้วยตามอาจารย์
เรื่องที่ 1 คือ สุนัขจิ้งจอก
เรื่องที่ 2 คือ เกาะเต่าทอง
นิทานทั้ง 2 เรื่องนี้เป็นนิทานประเภท เล่าไปวาดไป คือ อาจารย์จะเล่าไปด้วยแล้วก็วาดไปด้วย แล้วตอนจบให้เด็กทายกันว่าเป็นรูปอะไร
- สามารถนำเรื่องการประเมินเด็กต่างๆนำไปประเมินเด็กเวลาออกฝึกสอนในอนาคตได้
- สามารถนำความรู้เรื่อง การเล่านิทาน ไปเล่าให้เด็กฟังได้
- สามารถนำเทคนิกการเล่านิทานแบบเล่าไปวาดไป ไปใช้สอนเด็กในได้ในอนาคต
- สามารถนำกิจกรรมส่งเสริมภาษาสำหรับเด็กไปประยุกต์ในการสอนได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น